วารสาร

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก
นานาสาระ

ทำไมต้องทำ DSC โรคลมชัก

ศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชัก (epilepsy) เป็นโรคทางระบบประสาทที่ พบบ่อย ความชุกประมาณ 7 คนใน 1000 คน พบได้ทุก เพศทุกวัย ผู้ป่วยโรคลมชักนั้นประสบปัญหาในการเข้า ถึงการรักษา จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกพบ ว่าผู้ป่วยโรคลมชักในประเทศไทยเพียง ร้อยละ 70 เท่านั้น ที่เข้าถึงการรักษา...

เมษายน - มิถุนายน 2567
พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง
Topic Review

พยากรณ์ภาวะชักต่อเนื่อง

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ภาวะชักต่อเนื่อง (status epilepticus : SE) เป็น ภาวะฉุกเฉินโรคทางระบบประสาท มีอัตราการเสียชีวิตสูง พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อัตราการเสียชีวิตขึ้นกับสาเหตุ ของ SE โดยเฉพาะภาวะ hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) และการรักษาที่รวดเร็วควบคุมอาการชักได้เร็วภายใน 30-60 นาทีแรกหรือไม่...

เมษายน - มิถุนายน 2567
Status Epilepticus: Time is Brain
Topic Review

Status Epilepticus: Time is Brain

สมศักดิ์ เทียมเก่า

Status epilepticus (SE) หรือภาวะชักต่อเนื่อง เป็น ภาวะฉุกเฉินหนึ่งของโรคระบบประสาท มีอัตราการเสีย ชีวิตค่อนข้างสูง ปัจจัยหลักหนึ่งในหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเสียชีวิต คือ การควบคุมอาการชักต่อเนื่องไม่ได้จน เกิดเป็นภาวะ refractory SE (RSE) และ super RSE (SRSE) คือ มีภาวะชักต่อเนื่องนานมากกว่า 1 ชั่วโมง และนานมากกว่า 24 ชั่วโมงตามลำดับ...

เมษายน - มิถุนายน 2567
ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก
Topic Review

ใช้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พบร่วมกับอาการชัก

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ความชุกประมาณร้อยละ 1 ของประชากร พบได้ทุกกลุ่ม อายุ ซึ่งสาเหตุในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) พบว่าเป็นสาเหตุของโรค ลมชักที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ป่วย stroke มีโอกาสการ เกิดอาการชักตามมาภายหลังสูงกว่าคนทั่วไป

เมษายน - มิถุนายน 2567
COVID-19: Crisis to Chance
นานาสาระ

COVID-19: Crisis to Chance

สมศักดิ์ เทียมเก่า

การระบาดของโรคโควิด 19 ในช่วงเวลาที่ผ่านมา นั้นส่งผลกระทบกับคนทั่วทั้งโลกในทุกสาขาอาชีพ ทุกเพศ ทุกวัย ไม่มีใครที่ไม่ได้รับผลกระทบดังกล่าว อาจ กล่าวได้ว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นรุนแรงมากที่สุดตั้งแต่ มีการระบาดของโรคต่างๆ ที่เคยมีมาก็ว่าได้...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
นานาสาระ

โรคหลอดเลือดสมอง อดีต ปัจจุบัน และอนาคต

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมอง stroke หรือ cerebrovascular disease เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญลำดับต้นๆ ของ ประเทศไทยและทั่วโลก เนื่องจากมีอัตราการเสียชีวิต และก่อให้เกิดความพิการได้สูง ส่งผลกระทบกับผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนเป็นปัญหาของประเทศ ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขเป็นมูลค่าที่สูงมาก...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท
Original Article

การบริการผู้ป่วยนอก โรคระบบประสาท

สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคระบบประสาทส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรัง ผู้ป่วย เป็นทั้งผู้ป่วยนอก (out-patient) และผู้ป่วยใน (in-patient) ได้รับการตรวจรักษาจากอายุรแพทย์ระบบประสาท (neurologist) ปัจจุบันจากฐานข้อมูลจำนวนประชากร ของกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566 ประชากรไทยที่มีอายุมากกว่า 15 ปีขึ้นไปมีจำนวน 55,512,438 คน...

กรกฎาคม - กันยายน 2566
วิกฤติระบบสาธารณสุขไทย
นานาสาระ

วิกฤติระบบสาธารณสุขไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า

ปัญหาของระบบสาธารณสุขไทยในมุมมองของผม น่าจะวิกฤติมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากความเปลี่ยนแปลง ของสังคมในหลายประเด็น ได้แก่ ผู้สูงอายุที่มากขึ้น วิธีการรักษาโรคต่างๆ ที่มากขึ้น ความต้องการ ความ คาดหวังของสังคม ความคิด ทัศนคติของคนรุ่นใหม่ต่อ ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และระบบสุขภาพของประเทศที่ รักษาฟรี...

เมษายน - มิถุนายน 2566
การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท
Topic Review

การใช้ยา Nicergoline ในโรคระบบประสาท

จันทิรา รอดเดช,สมศักดิ์ เทียมเก่า,นันทพรรณ์ ชัยนิรันดร์,รัชฎาพร สุนทรภาส

อาการผิดปกติทางระบบประสาทเป็นปัญหาสุขภาพ ที่ผู้ป่วยทุกคนมีความกังวลใจทั้งสิ้น ไม่ว่าอาการจะเป็น อาการแขนขาอ่อนแรง มึน งง หนักหัว เบาหัว คิดอะไรไม่ ออก เดินเซ วิงเวียนศีรษะ หลงลืม ความจำไม่ดี ผู้ป่วยจะ มีความกังวลใจกลัวจะเป็นอาการของโรคหลอดเลือด สมอง และโรคอัลไซเมอร์...

เมษายน - มิถุนายน 2566
อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ประเทศไทย
Original Article

อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ประเทศไทย

สมศักดิ์ เทียมเก่า

อุบัติการณ์โรคหลอดเลือดสมองในประเทศไทยมี แนวโน้มสูงขึ้นมาตลอด ส่งผลให้มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองชนิดขาดเลือดส่วนหนึ่งที่มาทันระบบการรักษา stroke fast track ได้รับการรักษาด้วยการให้ยาละลาย ลิ่มเลือด (rtpa) ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 มาถึงปัจจุบัน...

เมษายน - มิถุนายน 2566